ศูนย์หนังสือวิศวกรรม
เจ้าของร้าน Login ที่นี่
หน้าร้าน
รายการสินค้า
ติดต่อร้านค้า ส่งข้อความหลังไมค์ วิธีการสั่งซื้อสินค้า วิธีการชำระเงิน เว็บบอร์ด
สมาชิกร้านค้า
สินค้าแนะนำ
หมวดสินค้า
สถิติร้านค้า
เปิดร้าน09/06/2009
เป็นสมาชิกเมื่อ 20/05/2009
บริการของร้านค้า
ตรวจสอบสถานะไปรษณีย์
จดหมายข่าว
ใส่ email ของท่านเพื่อรับข่าวสารร้านค้านี้

subscribe unsubscribe

ข้อมูลร้านค้า
   
ที่อยู่  77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร์ ชั้น 26 ถ.กรุงธนบุรี แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ ลง BTS สถานีกรุงธนบุรี 10600
โทร.  (02)862-1396-9
Mail  mebookshop@gmail.com
Search      Go

Home / All Product List / ไมโครคอนโทรลเลอร์ เล่ม 1

ไมโครคอนโทรลเลอร์ เล่ม 1

รูปภาพประกอบทั้งหมด 1 รูป

ไมโครคอนโทรลเลอร์ เล่ม 1

ลงประกาศเมื่อวันที่  :  11/02/2010
แก้ไขล่าสุด  :  21/07/2010
ราคา  ปก 270 เหลือ 230***

ชื่อหนังสือ: ไมโครคอนโทรลเลอร์ เล่ม 1


รหัสหนังสือ : BM2601
ISBN: 974-686-040-2
ผู้ แต่ง: น.ต.ธัชพงษ์ นิลอุบล
ขนาด: 18.4 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 184
กระดาษ: ปอนด์
ราคาปก 270 บาท
ราคาขาย 243 บาท ราคาสมาชิก วารสารเทคนิค/EC 230บาท
ปัจจุบันไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้เข้ามามีบทบาท ในชีวิตประวันมากยิ่งขึ้น ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า ไมโครคอนโทรลเลอร์นี้ จะใช้ในงานควบคุมต่างๆ เช่น ระบบควบคุม ที่อยู่ในเครื่องซักผ้า หรือ ในจักรเย็บผ้าสมัยใหม่, ระบบควบคุมการผลิต ในโรงงานผลิตรถยนต์, และระบบควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า หัวใจของระบบควบคุม จะต้องมีไมโครคอนโทรลเลอร์ รวมอยู่เป็นองค์ประกอบ

เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ จะนำผู้อ่านเข้าสู่โลกของ ไมโครคอนโทรลเลอร์ อย่างเป็นขั้นตอน โดยเริ่มจากทฤษฎีพื้นฐาน, สัญญาณควบคุมของ 8051, แผ่นลายวงจรทดลอง จนถึงขั้นตอน การนำเอาคอมพิวเตอร์บอร์ด เข้าสู่การใช้งาน, ลำดับขั้นตอนของการทำงาน และ เรื่องเกี่ยวกับ 8032 ไมโครคอนโทรลเลอร์ พร้อมยกตัวอย่าง การพัฒนาโปรแกรม และคำอธิบายประกอบ โดยละเอียด นอกจากนี้ ความรู้ ความเข้าใจ ที่ได้รับจากหนังสือนี้ จะนำผู้อ่านได้รับทั้งความรู้ และความภูมิใจ จากการมีส่วนร่วม ในการสร้าง บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ ด้วยตนเอง

หนังสือเล่มนี้ เหมาะสำหรับท่านผู้อ่าน ที่ยังไม่เคยสัมผัสกับโลกของ ไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ ผู้ที่มีพื้นฐานความเข้าใจ ทางด้านดิจิตอลเทคนิค ที่ต้องการจะนำเอาไมโครคอนโทรลเลอร์ ไปใช้ในการออกแบบ และพัฒนาโปรแกรมในระดับแอสเซมบลี

นอกจากนี้ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวก ให้กับผู้อ่าน ผู้ แต่งจึงได้แถม ซอร์สโค้ดโปรแกรม ที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้ ไว้ในแผ่นดิสเก็ต ทำให้ไม่ต้องพิมพ์ซอร์สโค้ดเอง ให้เสียเวลา

สารบัญ
  1. บทนำ
    1.1 ลักษณะของงาน ที่เอาไมโครคอนโทรลเลอร์ ไปใช้งาน
  2. ทฤษฎีพื้นฐาน
    2.1 ระบบฐานเลข
    2.2 การแสดงตัวเลข ในเครื่องคอมพิวเตอร์
    2.3 ความแตกต่างระหว่าง ไมโครโปรเซสเซอร์ และไมโครคอนโทรลเลอร์
    2.4 วงจรที่เล็กที่สุดของ ไมโครคอนโทรลเลอร์
    2.5 หน่วยความจำโปรแกรมโค้ด
    2.6 การทำงานของโปรแกรม
    2.7 การเขียนโปรแกรมของ ไมโครคอนโทรลเลอร์

3.สัญญาณควบคุมของ 8051
3.1 สัญญาณ ALE
3.2 สัญญาณ PSEN
3.3 สัญญาณ WR
3.4 สัญญาณ RD

  1. อุปกรณ์และเครื่องมือช่วยในการพัฒนา
    4.1 เครื่องโปรแกรม EPROM
    4.2 อีมูเลเตอร์ EPROM
    4.3 อีมูเลเตอร์ที่อยู่ในวงจร
    4.4 ใช้มอนิเตอร์โปรแกรมช่วย
    4.5 ซิมูเลเตอร์ของ 8051
    4.6 มาโคร-แอสแซมเบลอร์
  2. แผ่นลายวงจรทดลอง
    5.1 Computer Board 8032

    5.1.1 การเลือกระหว่าง หน่วยความจำภายนอก และใน 
    5.1.2 สัญญาณนาฬิกา
    5.1.3 ALE (Address-Latch-Enable)
    5.1.4 EPROM บนคอมพิวเตอร์
    5.1.5 การเลือกของหน่วยความจำโปรแกรม และข้อมูล
    5.1.6 แผนที่หน่วยความจำ (Memory Maps)
    5.1.7 การขยายอินพุต/เอาต์พุต
    5.1.8 ตัวขับและขยายสัญญาณ สำหรับพอร์ต P1
    5.1.9 ตัวขับและขยายสัญญาณ สำหรับพอร์ต P3
    5.1.10 วงจรสำรอง (Backup Circuit)
    5.1.11 แหล่งจ่ายไฟฟ้า
    5.1.12 แผ่นลายวงจรของ คอมพิวเตอร์บอร์ด

    5.2 บอร์ดขยายระบบของ Computer Board 8032

    5.2.1 รีเซ็ต 
    5.2.2 พอร์ตอนุกรม
    5.2.3 ทางเข้าสัญญาณ MIDI
    5.2.4 ทางออกสัญญาณ MIDI
    5.2.5 สวิตช์และโมโนฟล็อป
    5.2.6 พอร์ตขนานอินพุต 8 บิต
    5.2.7 พอร์ตขนานเอาต์พุต 8 บิต
    5.2.8 หน่วยแสดงผล LC
    5.2.9 แผ่นลายวงจรของ บอร์ดขยายระบบ

6.การนำเอาคอมพิวเตอร์บอร์ด เข้าสู่การใช้งาน
6.1 ทดสอบฮาร์ดแวร์
6.2 ทดสอบพอร์ตอนุกรม

7.ลำดับขั้นตอนของการทำงาน
7.1 โปรแกรม (Program)

    7.1.1 เอดิเตอร์ (Editor) 
7.1.2 แอสแซมเบลอร์ (Assembler)
7.1.3 การสื่อสารข้อมูล

7.2 แนะนำการใช้เมนู
7.3 โปรแกรมทดสอบ

  1. เรื่องเกี่ยวกับ 8032 ไมโครคอนโทรลเลอร์
    8.1 หน่วยความจำของ คอนโทรลเลอร์ตระกูล 8051

    8.1.1 รีจิสเตอร์ฟังก์ชันพิเศษ (Special Function Register) (SFR) 
    - แอคคิวมูเลเตอร์ (A)
    - รีจิสเตอร์ B (B-Register)
    - ตัวชี้สแต็ก (Stackpointer) (SP)
    - ตัวชี้ข้อมูล (Datapointer) (DPTR)
    - พอร์ตรีจิสเตอร์ (Port Register) (Px)
    - Interrupt-Priority-Register (IP)
    - Interrupt-Enable-Register (IE)
    - Timer-Mode-Register (TMOD)
    - Timer-Control-Register (TCON และ T2CON)
    - Time 0, Time 1
    - Timer 2
    - Serial-Control-Register (SCON)
    - Serial-Data-Buffer (SBUF)
    - Processor-Control-Register (PCON)
    - Program-State-Word (PSW)
    - ตำแหน่งแอดเดรส และค่าเริ่มต้นของ SFRs
    8.1.2 การอ้างอิงตำแหน่งแบบ โดยตรงในพื้นที่ RAM (Direct addressable RAM area)
    8.1.3 รีจิสเตอร์แบงค์ (Register bank)
    8.1.4 พื้นที่ RAM ที่สามารถอ้างอิงตำแหน่งแบบ บิตแอดเดรส
    8.1.5 พื้นที่ RAM ที่อ้างอิงตำแหน่งบิตแอดเดรส ทางอ้อม
    8.1.6 หน่วยความจำสแต็ก
    8.1.7 การจัดสรรพื้นที่ภายใน RAM

    8.2 ชนิดของการอ้างอิงแอดเดรส

    8.2.1 การอ้างอิงแบบทันทีทันใด (Immediate Adressing) 
    8.2.2 การอ้างอิงแอดเดรสแบบ ทางตรง
    8.2.3 การอ้างอิงแอดเดรสแบบ ทางอ้อม
    8.2.4 การอ้างอิงตำแหน่งด้วย รีจิสเตอร์
    8.2.5 การอ้างอิงตำแหน่งบิต
    8.2.6 การอ้างอิงตำแหน่งของ หน่วยความจำโปรแกรม
    8.2.7 การอ้างอิงตำแหน่งของ หน่วยความจำข้อมูล (ภายนอก)

    8.3 พอร์ตอินพุต/เอาต์พุตของตระกูล 8051

    8.3.1 คำสั่งการอ่าน, การเขียน และแก้ไข 
    8.3.2 Port 0
    8.3.3 Port 2
    8.3.4 Port 1
    8.3.5 Port 3

    8.4 ชุดคำสั่งตระกูล 8051

    8.4.1 คำสั่งการเคลื่อนย้ายข้อมูล 
    - คำสั่ง MOV
    - คำสั่ง MOVC
    - คำสั่ง MOVX
    - คำสั่ง XCH
    - คำสั่ง PUSH และ POP
    8.4.2 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
    - โปรแกรมย่อย
    - คำสั่งกระโดด (Spring)
    - คำสั่งกระโดดแบบมีเงื่อนไข (Condition Jump)
    - คำสั่งเปรียบเทียบ (Compare)
    - คำสั่งนับ (Count)
    8.4.3 การทำงานด้านตรรกศาสตร์
    - AND/OR/XOR
    - การลบ และการคอมพลีเมนต์ แอคคิวมูลเลเตอร์
    - การหมุน (Rotation)
    - การ SWAP
    8.4.4 คำสั่งที่มีผลต่อบิตข้อมูล (Bit manipulation)
    - ตัวอย่างการใช้งาน – แหล่งกำเนิดเสียงซ่า (เสียงรบกวน)
    - ตัวอย่างการใช้งาน-ทดสอบโซโว
    8.4.5 คำสั่งการทำงานทางคณิตศาสตร์
    - การบวก (Addition)
    - BCD-Corrector
    - การลบ (Subtraction)
    - การเพิ่ม และการลดค่า (Increment and Decrement)
    - การคูณ และการหาร
    - ตัวอย่างการใช้งาน ในการวัดค่าความจุ
    - การรับรู้เมื่อเกิด Over-Flow
    - การคำนวณค่า
    - ทฤษฎีและปฎิบัติในการคำนวณ

    8.5 ตัวนับและตัวกำหนดเวลา

    - Timer 0 และ Timer 1 
    - TH0 และ TL0
    - TH1 และ TL1
    - TMOD
    - Timer 2

    8.6 อินเตอร์รัปต์

    - แหล่งสัญญาณอินเตอร์รัปต์ 
    - อินเตอร์รัปต์ของ Timer 0 และ Timer 1
    - อินเตอร์รัปต์ 0 และ 1 จากภายนอก
    - อินเตอร์รัปต์ของพอร์ตอนุกรม
    - อินเตอร์รัปต์ของ Timer 2
    - ซอฟต์แวร์อินเตอร์รัปต์
    - ตำแหน่งอ้างอิงแอดเดรส การกระโดดของ Interrupt 1
    - การอนุญาตการเกิดอินเตอร์รัปต์
    - ระดับความสำคัญของ การเกิดอินเตอร์รัปต์
    - ตัวอย่างการใช้งาน นาฬิกาควบคุม ด้วยสัญญาณอินเตอร์รัปต์
    - โปรแกรมหลัก
    - การใช้งาน Timer 2 บนคอมพิวเตอร์บอร์ด 8032
    - เก็บรักษาข้อมูลไว้บนสแต็ก
    - ตัวอย่างการใช้งานเครื่องนับรอบ
    - การทำงานแบบ Single Step
    - ตัวเปลี่ยนแปลงสัญญาณดิจิตอล เป็นอะนาล็อก (D/A)
    - ตัวเปลี่ยนแปลงสัญญาณอะนาล็อก เป็นดิจิตอล (A/D)
    - โปรแกรมคอนเวอร์เตอร์ A/D

    8.7 พอร์ตอนุกรม (Serial Port)

    - การควบคุมพอร์ตอนุกรม 
    - ลักษณะการทำงานของพอร์ตอนุกรม
    - บัฟเฟอร์ตัวรับ-ส่ง
    - ฟังก์ชันในภาพรวม
    - อัตราเร็วในการรับ-ส่ง
    - การส่งข้อมูล
    - อินเตอร์เฟซตัวควบคุม SCON ใน EMON52
    - การรับข้อมูล
    - ตัวส่งข้อมูล MIDI
    - การวัดอัตราเร็วในการส่ง-รับข้อมูล
    - LC Display
    - การเชื่อมต่อ
    - คำสั่ง LCD
    - โค้ดคำสั่ง
    - Clear Display (คำสั่งล้างจอ Display)
    - Return Home (คำสั่ง Set Cursor ที่ตำแหน่ง 0)
    - Entry Mode Set
    - Display ON/OFF Control
    - Cursor or Display Shift
    - Function Set
    - Set CG-RAM Address
    - Read Busy Flag
    - Write DATA To CG หรือ DD-RAM
    - Read DATA From CG หรือ DD-RAM
    - ทดสอบ Display
    - การเขียนโปรแกรม
    - โปรแกรมหลัก
    - ข้อแนะนำ
    - Keyboard Interface
    - การเชื่อมต่อเข้าที่พอร์ตโดยตรง
    - การต่อแบบ Matrix กับพอร์ต
    - การต่อแบบ Matrix โดยมี Diode ป้องกันกระแสย้อนกลับ
    - การนำไปใช้งาน
    - ข้อแนะนำ
    - การต่อวงจรแบบใช้สัญญาณอะนาล็อก
  2. ภาคผนวก
    9.1 ตารางการเปลี่ยนเลขฐาน 16 เป็น ASCII Code
    9.2 ตำแหน่งขาของไมโครคอนโทรลเลอร์ 8032
    9.3 ชุดคำสั่งนีโมนิกส์ของ 8032
    9.4 รายการอุปกรณ์

    • คอมพิวเตอร์บอร์ด
    • บอร์ดขยายระบบ 8032
      9.5 วิธีการสั่งจากเรา
    • แผ่นลายวงจรของคอมพิวเตอร์บอร์ด 8032
    • แผ่นลายวงจรบอร์ดขยายระบบ 8032 ด้านบัดกรี
    • แผ่นลายวงจรบอร์ดขยายระบบ 8032 ด้านวางอุปกรณ์
  3. หนังสืออ้างอิง

สั่งซื้อสินค้า / ติดต่อสอบถาม

เขียนอีเมลถึงเจ้าของร้าน

ส่งเมลถึง:ศูนย์หนังสือวิศวกรรม
อีเมลผู้ส่ง:
เนื้อความ:
มีไฟล์แนบ
ทำสำเนา