รหัสหนังสือ : BM2901
ชื่อหนังสือ: ระบบน้ำร้อนในอาคาร
ISBN: 974-686-022-4
ผู้ แต่ง: อ.มานะศิษฏ์ พิมพ์สาร
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 361
กระดาษ: ปรู๊ฟ
ราคาปก 150 บาท
ราคาขาย 90 บาท
ราคาสมาชิก วารสารเทคนิค/EC 80 บาท
ระบบน้ำร้อนในอาคาร เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาครอบคลุมด้าน ระบบน้ำร้อน สำหรับอาคารทุกประเภท โดยอธิบายขั้นตอนของระบบไว้อย่างละเอียด เริ่มตั้ง แต่ประโยชน์ของน้ำร้อน, การทำน้ำร้อน, การถ่ายเทความร้อน, การไหลเวียน, อุปกรณ์ควบคุมเครื่องทำน้ำร้อนชนิดต่างๆ , การวัดระบบจ่ายน้ำร้อน, การขยายตัวของท่อ, การหุ้มฉนวนท่อ, การติดตั้งท่อจ่ายก๊าซ, การระบายควัน, การเลือก และซ่อมแซมบำรุงรักษา
จึงกล่าวได้ว่า หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่สมบูรณ์ ด้วยเนื้อหา และวิชาการ ที่ผู้อ่านจะได้รับความรู้และประโยชน์ทางด้านระบบน้ำร้อนในอาคารอย่างครบ ถ้วน และสามารถนำไปปฏิบัติได้เป็นอย่างดี
สารบัญ
- การใช้น้ำร้อนในอาคาร
1.1 ประโยชน์ของน้ำร้อน
1.2 ชนิดของเครื่องทำน้ำร้อน
1.3 ระบบน้ำร้อนในอาคาร
1.4 การเลือกเครื่องทำน้ำร้อน
- น้ำและการขยายตัวของน้ำ
2.1 คุณสมบัติของน้ำ
2.2 ความถ่วงจำเพาะของน้ำ
2.3 ความกดดันของน้ำ
2.4 ความกดดัน
2.5 การวัดความกดดันน้ำ
- กระบวนการถ่ายเทความร้อน
3.1 กระบวนการถ่ายเทความร้อน
3.2 วิธีการถ่ายเทความร้อน
3.3 การแบ่งประเภทของการถ่ายเทความร้อน
3.4 การไหลเวียนของระบบน้ำร้อน
3.5 ความร้อนและปริมาณความร้อน
3.6 ปริมาณความร้อน
3.7 ความร้อนจำเพาะ
- หลักการไหลเวียนของน้ำร้อน
4.1 หลักการไหลเวียน
4.2 กฏธรรมชาติของการไหลเวียน
4.3 การไหลเวียนของน้ำในท่อ
- อุปกรณ์ควบคุมเครื่องทำน้ำร้อน
5.1 เทอร์โมสตาด
5.2 อุปกรณ์ควบคุมการจ่ายก๊าซ
- อุปกรณ์นิรภัยเครื่องทำน้ำร้อน
6.1 ความกดดัน
6.2 ชนิดอุปกรณ์นิรภัย
6.3 วาล์วระบายความดัน
- ปริมาณความต้องการน้ำร้อนและความจุเครื่องทำน้ำร้อน
7.1 อุณหภูมิของน้ำร้อน
7.2 ปริมาณความต้องการน้ำร้อน
- ถังเก็บน้ำร้อน
8.1 ขนาดถังเก็บน้ำร้อน
8.2 ชนิดของถังเก็บน้ำร้อน
8.3 การยุบตัวของถังเก็บน้ำร้อน
8.4 คาโทรดป้องกันถังเก็บน้ำร้อน
8.5 การต่อเครื่องทำน้ำร้อนกับถังเก็บน้ำร้อน
8.6 การต่อเครื่องทำน้ำร้อนหลายตัวและถังเก็บน้ำร้อน
8.7 วัสดุถังเก็บน้ำร้อนและวัสดุท่อ
8.8 การหุ้มฉนวนถังเก็บน้ำร้อนและท่อจ่ายน้ำร้อน
- เครื่องทำน้ำร้อน
9.1 วิธีการให้ความร้อนแก่น้ำ
9.2 ชนิดของเครื่องทำน้ำร้อน
9.3 เครื่องทำน้ำร้อนแบ่งตามชนิดเชื้อเพลิง
9.4 ขนาดหม้อต้มและท่อคอล์ย
9.5 ขนาดคอล์ยไอน้ำและท่อ
9.6 การทำน้ำร้อนด้วยไอน้ำ
9.7 การผสมไอน้ำกับน้ำ
9.8 การทำน้ำร้อนโดยผ่านท่อคอล์ยไอน้ำ
9.9 เครื่องทำน้ำร้อนใช้ก๊าซ
9.10 เครื่องทำน้ำร้อนใช้ไฟฟ้า
9.11 เครื่องทำน้ำร้อนใช้น้ำมัน
- เครื่องทำน้ำร้อนใช้ก๊าซ
10.1 ชนิดเครื่องทำน้ำร้อน
10.2 เครื่องทำน้ำร้อนชนิดหม้อต้ม
10.3 เครื่องทำน้ำร้อนชนิดน้ำผ่าน
10.4 เครื่องทำน้ำร้อนชนิดใช้ก๊าซแบบไหลเวียน
- เครื่องทำน้ำร้อนใช้ไฟฟ้า
11.1 หลักการทำน้ำร้อนใช้ไฟฟ้า
11.2 ส่วนประกอบเครื่องทำน้ำร้อนใช้ไฟฟ้า
11.3 ตำแหน่งการวางขดลวดความต้านทานในหม้อต้ม
- 4 ชนิดเครื่องทำน้ำร้อน
11.5 เครื่องทำน้ำร้อนใช้ไฟฟ้าแบ่งตามความกดดัน
11.6 หลักการทำงานของเครื่องทำน้ำร้อนชนิดน้ำผ่าน
11.7 ระบบควบคุมโดยใช้กระเปาะของเหลว
- เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
12.1 พลังงานแสงอาทิตย์
12.2 เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
12.3 แผงรับแสงอาทิตย์ชนิดแผ่นราบ
12.4 การจัดแผงรับแสง
12.5 ถังเก็บน้ำร้อน
12.6 ระบบหมุนเวียนของน้ำร้อน
12.7 ระบบทำความร้อนโดยตรง
12.8 ระบบทำความร้อนโดยอ้อม
12.9 การติดตั้งระบบทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
- การทำน้ำร้อนจากส่วนจ่ายกลาง
13.1 ชนิดและระบบเครื่องทำน้ำร้อน
13.2 ระบบทำน้ำร้อนชนิดหม้อต้มผลัดความร้อน
13.3 การจัดระบบจ่ายน้ำร้อนจากส่วนกลาง
13.4 ระบบน้ำร้อนส่วนจ่ายกลางชนิดหม้อต้มผลัดความร้อน
13.5 ระบบน้ำร้อนส่วนจ่ายกลางชนิดน้ำผ่านผลัดความร้อน
- ระบบจ่ายน้ำร้อนในอาคารและขนาดท่อไหลเวียน
14.1 หลักการไหลเวียนของน้ำร้อน
14.2 ระบบจ่ายน้ำขึ้น
14.3 ระบบจ่ายลง
14.4 ระบบผสม
14.5 ระบบจ่ายลงโดยเครื่องทำน้ำร้อนอยู่ส่วนบนสุดของอาคาร
14.6 ระบบจ่ายขึ้นโดยเครื่องทำน้ำร้อนอยู่ส่วนบนสุดของอาคาร
14.7 ระบบจ่ายผสม
14.8 วิธีหาอัตราการไหลเวียนและขนาดท่อไหลเวียน
14.9 เครื่องสูบน้ำไหลเวียน0
- การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนและอุปกรณ์น้ำร้อน
15.1 ตำแหน่งติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อน
15.2 การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนโดยตรง
15.3 การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนโดยตรงชนิดใช้ก๊าซ
15.4 การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนโดยตรงชนิดใช้ไฟฟ้า
15.5 การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนโดยตรงชนิดใช้น้ำผ่าน
15.6 การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนโดยตรงชนิดหม้อต้ม
- การขยายตัวของระบบท่อน้ำร้อน
16.1 การขยายตัวของวัสดุท่อ
16.2 การขยายตัวของท่อในแนวนอน
16.3 การขยายตัวเนื่องจากความร้อน
16.4 อุปกรณ์รับการขยายตัวของทอ
16.5 การหนุนรองท่อ
16.6 การยึดสมอท่อ
16.7 ท่อยืน
16.8 อาคารสูง
16.9 อาคารสูงมาก
- การหุ้มฉนวนท่อ
17.1 สาเหตุการสูญเสียความร้อน
17.2 คุณสมบัติวัสดุฉนวน
17.3 ชนิดวัสดุฉนวน
17.4 การเลือกความหนาฉนวนอย่างประหยัด
17.5 การสูญเสียความร้อน
17.6 การเลือกฉนวนความร้อน
- การติดตั้งระบบท่อก๊าซ
18.1 ชนิดของก๊าซที่ใช้กับเครื่องทำน้ำร้อน
18.2 ปริมาณการใช้ก๊าซ
18.3 ขนาดท่อก๊าซ
18.4 วัสดุท่อก๊าซ
18.5 เกลียวท่อ
18.6 มาตรวัดก๊าซและการติดตั้ง
18.7 การติดตั้งท่อก๊าซ
18.8 การต่อท่อแยก
18.9 การหนุนรองท่อ
18.10 ท่อเยื้อง
18.11 การปกปิดซ่อนบังท่อ
18.12 การปิดทางออกท่อก๊าซ
18.13 วาล์วปิดเปิดก๊าซ
18.14 อุปกรณ์บังคับก๊าซ
18.15 การทดสอบระบบทำจ่ายก๊าซ
18.16 การล้างท่อ
- การระบายควันและก๊าซเสีย
19.1 การระบายควันและก๊าซเสีย
19.2 การไหลของควันและก๊าซเสีย
19.3 ท่อระบายควันและก๊าซเสีย
19.4 วัสดุท่อระบายควันและก๊าซเสีย
19.5 การติดตั้งท่อระบายควันและก๊าซเสีย
19.6 การต่อท่อแยกระบายควันและก๊าซเสีย
19.7 ส่วนประกอบในการติดรั้งท่อระบายควันและก๊าซเสีย
19.8 ชนิดของทอระบายควันและก๊าซเสีย
19.9 การระบายอากาศเข้าสู่ห้องติดตั้งเครื่องใช้ก๊าซ
- หลักการเลือกการบำรุงรักษาและซ่อมแซมเครื่องทำน้ำร้อน
20.1 หลักการเลือกเครื่องทำน้ำร้อน
20.2 การบำรุงรักษาและซ่อมแซมเครื่องทำน้ำร้อน
20.3 การบำรุงรักษาเครื่องทำน้ำร้อน
20.4 ข้อขัดข้องและการซ่อมแซมแก้ไขเครื่องทำน้ำร้อน
ภาคผนวก
- ตัวประกอบเปลี่ยนหน่วย
- สัญญลักษณ์เครื่องสุขภัณฑ์
- สัญญลักษณ์ข้อต่อท่อและวาล์ว
- สัญญลักษณ์ท่อก๊าซ ข้อต่อ การควบคุมและอุปกรณ์อื่น
- สัญญลักษณ์เดินท่อ
- ตารางความยาวเทียบเท่าของข้อต่อและวาล์ว
- ชนิดและคุณสมบัติความหนาแน่น อุณหภูมิใช้งานของฉนวนความร้อน
- เลือกความหนาของฉนวน
- เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์แผงรับแสงหนึ่งแผง
- เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์แผงรับแสงสองแผง
- เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์มีถังเก็บน้ำเย็นเหนือหลังคา จ่ายน้ำเข้าสู่ระบบวาล์วกันกลับบนท่อไหลเวียนกลับ
- เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ต่อน้ำเป็นโดยตรง จากท่อประปาความดันเกินกว่า 2 กก./ตร.ซม. (20 เมตรน้ำ) มีถังเก็บน้ำบังคับด้วยวาล์วลูกลอย
- แสดงถึงระบบน้ำร้อนพลังงงานแสงอาทิตย์ขนาดใหญ่ ที่ติดตั้งในอาคารพาณิยช์ไปแล้วตามที่ต่างๆ ทั่วประเทศ