ศูนย์หนังสือวิศวกรรม
เจ้าของร้าน Login ที่นี่
หน้าร้าน
รายการสินค้า
ติดต่อร้านค้า ส่งข้อความหลังไมค์ วิธีการสั่งซื้อสินค้า วิธีการชำระเงิน เว็บบอร์ด
สมาชิกร้านค้า
สินค้าแนะนำ
หมวดสินค้า
สถิติร้านค้า
เปิดร้าน09/06/2009
เป็นสมาชิกเมื่อ 20/05/2009
บริการของร้านค้า
ตรวจสอบสถานะไปรษณีย์
จดหมายข่าว
ใส่ email ของท่านเพื่อรับข่าวสารร้านค้านี้

subscribe unsubscribe

ข้อมูลร้านค้า
   
ที่อยู่  77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร์ ชั้น 26 ถ.กรุงธนบุรี แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ ลง BTS สถานีกรุงธนบุรี 10600
โทร.  (02)862-1396-9
Mail  mebookshop@gmail.com
Search      Go

Home / All Product List / การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม

การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม

รูปภาพประกอบทั้งหมด 1 รูป

การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม

ลงประกาศเมื่อวันที่  :  20/07/2009
แก้ไขล่าสุด  :  18/09/2009
ราคา  ปก 280 เหลือ 252

รหัสหนังสือ : PT2404
ชื่อหนังสือ: การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม
ISBN: 974-686-096-8
ผู้ แต่ง: โกศล ดีศีลธรรม
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 226
กระดาษ: ปอนด์
ราคาปก 280 บาท
ราคาขาย 252 บาท
ราคาสมาชิก วารสารเทคนิค/EC 238 บาท
หนังสือการจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นคู่มือสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอุตสาหกรรม ไม่ว่า จะเป็น ผู้จัดการโรงงาน วิศวกร ที่ปรึกษา อีกทั้งยังเป็นหนังสือที่ใช้ประกอบการศึกษา สำหรับนิสิต นักศึกษา วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานในภาคอุตสาหกรรม เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับการลดหรือป้องกันไม่ให้เครื่องจักรเกิดการขัด ข้อง ซึ่งวิธีการที่นำมาใช้ คือ การบำรุงรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสมด้วยวิธีการจัดการที่ดี เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้ ประกอบด้วย แนวคิดวิศวกรรมการบำรุงรักษา, การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน, การจัดทำแผนบำรุงรักษา, วิศวกรรมความน่าเชื่อถือ, การบริหารอะไหล่สำหรับงานบำรุงรักษา, ปัจจัยค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา, เทคนิคการป้องกันและแก้ไขการสึกหรอ, ต้นทุนวงจรอายุ, การพัฒนาระบบบำรุงรักษา, การบำรุงรักษาเชิงวางแผน, TPM การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม, เส้นทางสู่ความสำเร็จการดำเนินโครงการ TPM, TPM กับการพัฒนาประสิทธิผลสายการผลิต, บทบาทกิจกรรม 5 ส กับการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ฯลฯ ด้วยเนื้อหาที่ครอบคลุมนี้เอง หนังสือเล่มนี้จึงเหมาะกับการจัดงานด้านงานบำรุงรักษาอย่างแท้จริง

สารบัญ

แนวคิดกวิศวกรรมบำรุงรักษา
แนวคิดการจัดการบำรุงรักษา
สาเหตุหลักของการเกิดปัญหาเครื่องจักร
ประเภทของการบำรุงรักษา
องค์ประกอบของการบำรุงรักษาที่มีผลประสิทธิผล
วิศวกรรมการออกแบบกับงานบำรุงรักษา
ความสำคัญของสารสนเทศการบำรุงรักษา
การสุ่มตัวอย่างงาน
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
เป้าหมายหลักของการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
แนวคิดการขัดข้องเป็นศูนย์ (Zero Breakdown Concept)
การบำรุงรักษาเชิงแก้ไข (Corrective Maintenance)
การบำรุงรักษาเชิงคาดการณ์
แผนการหยุดเครื่อง
การจัดทำแผนบำรุงรักษาเครื่องจักร
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องการบำรุงรักษา
การประเมินเพื่อจัดทำนโยบายการบำรุงรักษา
วิศวกรรมความน่าเชื่อถือ
แนวคิดการทดสอบอายุ
จะเขียนแผ่นข้อกำหนดเฉพาะของความน่าเชื่อถืออย่างไร
จะทำการคำนวณเพื่อวัดค่าความน่าเชื่อถืออย่างไร
การคำนวณค่าเวลาเฉลี่ยการชำรุด
แนวทางคำนวณค่าเวลาเฉลี่ยจนกระทั่งเกิดความชำรุด
แนวทางคำนวณอัตราความเสี่ยง
แนวทางการคำนวณหาความพร้อมของกระบวนการ
การคำนวณหาค่าความน่าเชื่อถือรวม
การประเมินความมีประสิทธิผลของระบบ
การจัดทำมาตรฐาน
ความน่าเชื่อถือของอะไหล่
การตรวจสอบอะไหล่
การวิเคราะห์คุณค่า
การเพิ่มคุณค่า
ดัชนีคุณค่า
การวางแผนอะไหล่
การจัดหาอะไหล่
การบริการหลังการขาย
การควบคุมความล้าสมัยของอะไหล่
สาเหตุของปัญหาการล้นสต็อก
ปัจจัยค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา
เทคนิคการป้องกันและแก้ไขการสึกหรอ
การตรวจติดจับความชำรุด
การฟื้นสภาพชิ้นส่วนที่สึกหรอ
เทคนิคแก้ไขปัญหาการสึกหรอ
การใช้ความร้อนเพื่อการฟื้นสภาพจากการสึกหรอ
เทคนิคการเชื่อม
การเคลือบด้วยผงฝุ่น (Powder coatings)
เทคโนโลยีการฉีดพ่นด้วยความร้อน
ต้นทุนวงจรอายุ
แนวทางพื้นฐานสำหรับการออกแบบต้นทุนวงจรอายุ
วิธีการทั่วไปสำหรับการออกแบบ LCC
การออกแบบ LCC ภายใต้ความไม่แน่นอน
การทบทวนมาตรฐานการออกแบบ
การพัฒนาระบบบำรุงรักษาอย่างเป็นระบบ
แนวคิดการจัดการเครื่องจักรตามแนวทางของ TPM
วัตถุประสงค์ของการจัดการเครื่องจักร
แนวทางจัดการอย่างมีประสิทธิผล
ประเด็นทางด้านเทคนิคและการจัดการ
ขั้นตอนและวิธีการสำหรับการจัดการบำรุงรักษา
แนวทางเศรษฐศาสตร์กับการประเมินการออกแบบ
แนวทางดำเนินการบำรุงรักษาเชิงวางแผน
การกำหนดเป้าหมายสำหรับการบำรุงรักษาเชิงวางแผน
มาตรฐานการบำรุงรักษา
การลดค่าใช้จ่ายการบำรุงรักษา
กลยุทธ์สร้างความเชื่อมั่นการบำรุงรักษา
รูปแบบการบำรุงรักษาและการตรวจสอบ (Maintenance and inspection modeling)
แนวโน้มกลยุทธ์บำรุงรักษา
การตรวจสอบบนฐานความเสี่ยง
การบำรุงรักษาโดยมุ่งความน่าเชื่อถือเป็นศูนย์กลาง
มาตรฐานเกณฑ์การคัดเลือกนโยบายการจัดการความชำรุดเสียหาย
แนวทางการจัดซื้อเครื่องจักรอย่างมีประสิทธิผล
การวางแผน
การเลือกเครื่องจักร
การวางแผนล่วงหน้า
การตัดสินใจการลงทุนจัดซื้อ
การวิเคราะห์ต้นทุนวงจรอายุ
ประเด็นที่ควรพิจารณาในการจัดหาและจัดซื้อ
บทบาทการพิจารณาของฝ่ายจัดซื้อ
การประเมินปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์สำหรับการจัดหาเครื่องจักร
อัตราชั่วโมงการทำงาน
ค่าใช้จ่ายของการเป็นเจ้าของ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
แนวทางประเมินค่าใช้จ่าย
เหตุผลและความจำเป็นในการเปลี่ยนทดแทนอุปกรณ์
นโยบายการเปลี่ยนทดแทนอุปกรณ์
TPM : การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม
การดำเนิน TPM และกิจกรรม การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Kobetsu-Kaizen)
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous maintenance)
แนวทางการจัดทำมาตรฐานเพื่อป้องกันการเกิดความสูญเสีย
เส้นทางสู่ความสำเร็จการดำเนินโครงการ TPM
การเก็บสารสนเทศ
การเริ่มตรวจสอบและการนำเสนอ
การฝึกอบรมภายใน
การฝึกอบรมให้แก่ทีมงานศึกษาความเป็นไปได้
การศึกษาความเป็นไปได้
การนำเสนอผลการศึกษาความเป็นไปได้
การดำเนินโครงการนำร่อง
การดำเนินกิจกรรมทั่วทั้งโรงงาน
การตรวจสอบเบื้องต้น
การตรวจสอบความก้าวหน้า
การออกใบรับรอง
รางวัล TPM
TPM กับการพัฒนาประสิทธิผลสายการผลิต
บทบาท TPM ต่อการพัฒนาสายการผลิต
การจัดระเบียบในสถานที่ทำงาน
การสร้างประสิทธิภาพสายการผลิต
การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับสายการผลิต
การพัฒนาความสามารถบุคลากร
TPM สำหรับการปรับปรุงงานสำนักงาน
แนวทางระบุความสูญเสียสำหรับ TPM สำนักงาน
แนวทางการทำการเทียบเคียง (Benchmarking)
การขยายขอบเขตกิจกรรมไปยังห่วงโซ่อุปทาน
บทบาทกิจกรรม 5 ส กับ การบำรุงรักษาด้วยตนเอง
เป้าหมายหลักของกิจกรรม 5 ส
องค์ประกอบที่สำคัญของการดำเนินกิจกรรม 5 ส
หลักการและแนวคิดในการทำ ส สะอาด
การติดตามผลการดำเนินกิจกรรม 5 ส
จากกิจกรรม 5 ส สู่การบำรุงรักษาด้วยตนเอง
แนวคิดการวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร
มาตรวัดที่เกี่ยวข้อง
ประสิทธิผลเครื่องจักรโดยรวม (OEE)
ความสูญเสียหลักทั้ง 6 (Six Big Losses)
กรณีศึกษา : การวัดประสิทธิผลโดยรวม
แนวทางลดเวลาการตั้งเครื่องอย่างมีประสิทธิผล
แนวทางการตั้งเครื่อง
ผลของการปรับปรุงการตั้งเครื่อง
แนวทางการลดเวลาสำหรับการตั้งเครื่อง
แนวทางของ SMED สำหรับลดเวลาการตั้งเครื่อง
เทคนิคสำหรับการลดเวลาตั้งเครื่อง
การแยกกิจกรรมการตั้งเครื่องภายนอกและภายใน
การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายใน
การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายนอก
โครงการลดเวลาการตั้งเครื่อง
ทีมงานลดเวลาการตั้งเครื่อง
การสร้างสรรค์และคัดเลือกความคิด
การไคเซ็น
การวางแผนงาน : ปัจจัยแห่งการบำรุงรักษา
ผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดทำแผนบำรุงรักษา
ทักษะที่จำเป็นสำหรับนักวางแผนบำรุงรักษา
การวางแผนและการจัดทำกำหนดการ
การไหลของงาน
จะวางแผนงานกันอย่างไร
การสร้างแผนงาน
มาตรวัดทางด้านทรัพยากรของปัจจัยนำเข้า
มาตรวัดการดำเนินงาน
ตัววัดผลการบำรุงรักษา
การวางแผนบำรุงรักษาเชิงคุณภาพ
การสนับสนุนการบำรุงรักษาเชิงวางแผน
จากการบำรุงรักษาตามฐานเวลา ก้าวสู่การบำรุงรักษาตามสภาพ
การบำรุงรักษาที่ไม่ได้วางแผน
บทบาทบุคลากรบำรุงรักษา
การลดเวลาการบำรุงรักษาและการซ่อมแซม
การป้องกันความบกพร่องไม่ให้เกิดขึ้นซ้ำ
การวิเคราะห์ความบกพร่องชิ้นส่วน
การขจัดปัญหาเครื่องว่างและการหยุดเครื่องเล็กน้อย
การดำเนินการปรับปรุง
การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเครื่องจักร
การรับประกันคุณภาพงานบำรุงรักษา
ระบบสารสนเทศงานบำรุงรักษา
CMMS ทำงานอย่างไร
ทางเลือกสำหรับ SME
ปัจจัยพิจารณาสำหรับการเลือก CMMS
สถาปัตยกรรมสำหรับสนับสนุน CMMS
แนวทางศึกษาและการติดตั้ง CMMS
ทำไมโครงการ CMMS จึงล้มเหลว
การบูรณาการ CMMS กับ ระบบการตรวจติดตามสภาพ

สั่งซื้อสินค้า / ติดต่อสอบถาม

เขียนอีเมลถึงเจ้าของร้าน

ส่งเมลถึง:ศูนย์หนังสือวิศวกรรม
อีเมลผู้ส่ง:
เนื้อความ:
มีไฟล์แนบ
ทำสำเนา