ลงโฆษณาฟรี ลงประกาศฟรี ขายของมือสอง ร้านค้าออนไลน์ ecommerce หางาน สมัครงาน PantipMarket.com


ดูข่าวทั้งหมด
ค้นหาแบบละเอียด

หมายเลขประกาศ18359570

Neotame, นีโอเทม, นีโอแทม, นีโอเตม, นีโอแตม, Sweetener, E961

Neotame, นีโอเทม, นีโอแทม, นีโอเตม, นีโอแตม, Sweetener, E961
นำเข้า ส่งออก และจัดจำหน่าย โดย บจก.ไทยโพลีเคมิคอล
สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายขายและการตลาด บจก.ไทยโพลีเคมิคอล
36/1 หมู่ที่ 9 ตำบลนาดี อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000
โทร 034496284, 034854888, 0861762992, 0824504888, 0868850111
อีเมลล์แอดเดรส polychemicals888 (at) gmail (dot) com, LINE ID: wuttpcc
POLY CHEMICALS FOR A BETTER LIFE, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต
TAG: Neotame, นีโอเทม, นีโอแทม, นีโอเตม, นีโอแตม, Sweetener, E961
นีโอเตม(Neotame) เป็นสารให้ความหวานแบบสังเคราะห์ ที่มีความหวาน 7,000 - 13,000 เท่าของน้ำตาล มีโครงสร้างใกล้เคียงกับสารให้ความหวาน แอสปาร์แตม (Aspartame) ในแถบสหภาพยุโรป รู้จักนีโอเตมในรหัสที่ชื่อ E number E961 และเป็นที่ยอมรับว่ามีความปลอดภัยในการนำมาประกอบกับผลิตภัณฑ์อาหาร นีโอเตมมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว มีสูตรเคมี คือ C20H30N2O5 ทนความร้อนได้ดีในระดับกลาง เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนโครงสร้างโดยกระบวนการทางเคมีของร่างกาย และจะถูกกำจัดออกไปได้อย่างรวดเร็วทางปัสสาวะและอุจจาระภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังการบริโภค จึงไม่พบการสะสมของสารนี้อยู่ในร่างกาย นอกจากนี้ นีโอเตมยังเป็นสารให้ความหวานอีกชนิดที่ไม่ให้พลังงานกับร่างกาย จึงตัดข้อกังวลในเรื่องทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง และสารนี้ไม่ก่อให้เกิดภาวะฟันผุ นีโอเตม ถูกขึ้นทะเบียนและเป็นที่ยอมรับต่อคณะกรรมการอาหารและยาของประเทศทางตะวันตกเมื่อปี ค.ศ.2002 (พ.ศ.2545) และมีการใช้สารนี้ต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน แต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารเท่าใดนัก สารนี้มีค่าระดับความปลอดภัยของการบริโภค หรือ ADI (Acceptable Daily Intake) ที่แนะนำโดยองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา(U.S. Food and Drugs Administration; U.S. FDA) อยู่ที่ไม่เกิน 0.3 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม การใช้นีโอเตมมาประกอบในอาหาร นักเศรษฐศาสตร์พบว่ามีต้นทุนเทียบเท่า 1% ของน้ำตาล ในแง่สุขภาพ นีโอเตมอาจเป็นประโยชน์ในการปรุงแต่งรสชาติสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากได้รับการสนับสนุน สร้างความเข้าใจอย่างถ่องแท้ นีโอเตมอาจเป็นสารปรุงแต่งทางเลือกของผู้บริโภคได้อีกทางหนึ่งด้วย
Keyword: Neotame, E 961, นีโอเตม, นีโอแตม, นีโอเทม, นีโอแทม, สารให้ความหวาน, สารทดแทนน้ำตาล, สารให้ความหวานทดแทนน้ำตาล, สวีทเทนนิ่งเอเจ้น, สวีทเทนเนอร์, น้ำตาลเทียม, Sweetener, Sugar Replacer, Sweetening agent, Artificial Sugar, เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, สารเติมแต่งอาหาร, Food Grade, Food Additive
สารความหวาน (Sweetener) ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล จำหน่ายในปัจจุบันได้แก่
Acesulfame-K, ACK sweetener, E 950, INS 950, อะซีซัลเฟมเค, เอซีซัลเฟมเค
Acesulfame Potassium, อะซีซัลเฟมโปแตสเซียม, อะซีซัลเฟมโพแทสเซียม
Aspartame, E 951, INS 951, APM, แอสปาร์แตม, แอสพาร์แตม, แอสพาร์เทม, แอสพาร์เตม
Dextrose anhydrous, เดกซ์โตรสแอนไฮดรัส, เดกซ์โทรสแอนไฮดรัส
Dextrose monohydrate, เดกซ์โตรสโมโนไฮเดรต, เดกซ์โทรสโมโนไฮเดรต
D-Xylose, Xylose, ดีไซโลส, ไซโลส, ซีโลส, ดี-ซีโลส
Glucose powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง, ผงแบะแซ
Glucose syrup, กลูโคสเหลว, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคส, แบะแซ
Glycerine, Glycerol, E 422, กลีเซอรีน, กลีเซอรอล
Hydrogenated Maltose Syrup, ไฮโดรจีเนตมอลโตส, ไฮโดรจีเนตมอลโทส, MU-45, MU-50, MU-75
Icing Sugar, Powdered Sugar, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายผง
Isomalt, E 953, INS 953, ไอโซมอลท์, ไอโซมอลต์
Maltitol, E 965, มอลทิทอล, มอลติตอล, มัลทิทอล, มัลติตอล
Maltitol Powder, E 965(i), มอลทิทอลผง, มอลติตอลผง, มัลทิทอลผง, มัลติตอลผง
Maltitol Syrup, E 965(ii), มอลทิทอลเหลว, มอลทิทอลไซรัป, น้ำเชื่อมมอลทิทอล
Maltodextrin, มอลโทเดกซ์ทริน, มอลโตเดกซ์ตริน, มัลโทเดกซ์ทริน, มัลโตเดกซ์ตริน
Neotame, E961, นีโอเทม, นีโอแทม, นีโอเตม, นีโอแตม, Sweetener
Sodium Cyclamate, E 952, INS 952, โซเดียมไซคลาเมต, โซเดียมไซคลาเมท, แป้งหวาน
Sodium Saccharin, E 954, INS 954, โซเดียมซักคาริน, โซเดียมแซ็กคาริน, ดีน้ำตาล, ขัณฑสกร
Sorbitol, Sorbitol syrup, Sorbitol 70, E 420, ซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลเหลว
Sorbitol powder, ซอร์บิทอลผง, ซอร์บิตอลผง, ผงซอร์บิทอล, ผงซอร์บิตอล
Specialty sweetener, สารเพิ่มความหวานชนิดพิเศษ, สวีทเทนเนอร์ชนิดพิเศษ
Stevia, Rebaudioside A, Stevioside, E 960, INS 960, หญ้าหวาน, สตีเวีย, เรเบาดิโอไซด์เอ, สตีวิโอไซด์
Steviol Glycoside, Stevial Glycoside, Stevia extract, สารสกัดจากหญ้าหวาน, สเตวิออลไกลโคไซด์
Sucralose, E 955, INS 955, Synthetic sweetener, ซูคราโลส, ซูคาร์โลส
Sugar, Refined Sugar, น้ำตาล, น้ำตาลทราย, น้ำตาลทรายบริสุทธิ์
Trehalose, Mycose, Tremalose, Non-reducing sugar, ทรีฮาโลส, ตรีฮาโลส
Xylitol, E 967, INS 967, ไซลิทอล, ไซลิตอล, น้ำตาลเทียม, น้ำตาลสังเคราะห์
ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับสารให้ความหวาน (Sweetener)
สารให้ความหวาน (Sweetener) เป็นสารที่ใช้แต่งรสหวาน แต่งกลิ่น ซึ่งปัจจุบันถูกนำมาใช้ ในการปรุงอาหาร เครื่องดื่ม และเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ สารให้ความหวานแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามคุณค่าทางโภชนาการได้แก่
1. สารให้ความหวานที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (Nutritive sweetener) ซึ่งแบ่ง ย่อยออกเป็น 2 ชนิด
1.1 น้ำตาล (Sugar) เป็นอาหารที่อยู่ในหมู่คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) ที่ให้พลังงานแก่ร่างกายเช่น น้ำตาลกลูโคส (Glucose), ฟรักโตส (Fructose), แล็กโทส (Lactose), ซูโครส (Sucorse)
1.2 น้ำตาลแอลกอฮอล์ (Sugar alcohols) เป็นสารประกอบในกลุ่มแอลกอฮอล์ของน้ำตาลเช่น แมนนิทอล (Mannitol), ซอร์บิทอล (Sorbitol), ไซลิทอล (Xylitol), ไอโซมอลต์ (Isomalt), มอลทิทอล (Maltitol), แลคทิทอล (Lactitol), ทากาโลส (Tagalose), อิริทริทอล (Erythritol)
2. สารให้ความหวานที่ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ (Non-nutritive sweetener) หรือ “น้ำตาลเทียม หรือสารให้ความหวานเทียม (Artificial sweeteners, High intensity sweeteners หรือ Sugar substitute)” ปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (The United states food and drug administration, U.S. FDA) ได้กำหนดชนิดของน้ำตาลเทียมที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้อย่างปลอดภัยไว้ 6 ชนิดได้แก่ แซคคาริน หรือ ขัณฑสกร (Saccharin) แอสพาแตม (Aspartame) อะซีซัลเฟม โพแทสเซียม หรือ อะซีซัลเฟม เค (Acesulfame potassium, Acesulfame-K) ซูคราโลส (Sucralose) นีโอเทม (Neotame) แอดแวนเทม (Advantame)
นอกจากนี้ยังมีสารให้ความหวานจากธรรมชาติอีก 2 ชนิดที่ U.S. FDA กำหนดให้เป็นสารจำพวกที่สามารถใช้เติมลงไปในอาหารได้อย่างปลอดภัย (Generally recognized as safe, GRAS) ได้แก่ สเตวิออลไกลโคไซด์ (Steviol glycosides) สกัดมาจากใบของหญ้าหวาน (Bertoni) มีสารสำคัญที่ให้ความหวานคือ สเตวิโอไซด์ (Stevioside) และเรบาวดิโอไซด์ เอ (Rebaudioside A)สารสกัดจากหล่อฮังก๊วย (Luo Han Guo fruit extracts) มีสารให้ความหวานสำคัญคือ โมโกรไซด์ (Mogrosides)
รูปแบบสารให้ความหวานที่มีจัดจำหน่ายในประเทศไทย เช่น เป็นผง (Powder)เป็นผงบรรจุซอง (Sachet)เป็นของเหลว (Liquid)เป็นเม็ด (Tablet) สารให้ความหวานมีข้อบ่งใช้ เช่น
น้ำตาล: เป็นสารให้ความหวานที่ใช้ประกอบอาหารและเครื่องดื่มที่มี Sucrose เป็นน้ำตาลทรายที่ใช้กันทั่วๆไป ถูกย่อยและดูดซึมได้อย่างรวดเร็วจากระบบทางเดินอาหาร ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นเร็วจึงไม่เหมาะที่จะใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวานเพราะทำให้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ Sucrose เป็นตัวเปรียบเทียบความหวานกับน้ำตาลชนิดอื่นๆ โดยกำหนดให้ค่าความหวานของ Sucrose เท่ากับ 1, Fructose มีความหวาน 1.3 หมายความว่า หวานกว่า Sucrose 1.3 เท่า เป็นต้น
Sugar alcohols: ให้ความหวานประมาณ 25 – 100 เท่าของ Sucrose แต่ให้พลังงานน้อยกว่า ไม่ทำให้ฟันผุ ร่างกายดูดซึมจากระบบทางเดินอาหารได้ช้าทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นช้าจึงสามารถใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้ นอกจากนี้ยังใช้เป็นสารให้ความหวานในหมากฝรั่ง ลูกอมต่างๆ และคุกกี้เป็นต้น
น้ำตาลเทียม: เป็นสารให้ความหวานที่มีความหวานมากทำให้ใช้ในอาหารได้ในปริมาณที่น้อยมาก ไม่ทำให้ฟันผุ ไม่มีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดจึงใช้ในผู้ป่วยโรคอ้วนและโรคเบาหวานได้ นอกจากนี้ยังใช้ในการแต่งรสหวานและแต่งกลิ่นในอาหารเช่น หมากฝรั่ง, ขนมอบ, พุดดิ้ง, ขนมหวานแช่แข็ง, โรยหน้าขนมหวาน และเครื่องดื่มทั่วๆไปเช่น น้ำผลไม้, น้ำอัดลม, ชา, กาแฟสำเร็จรูป, ยา แก้ไอ
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สารให้ความหวาน (Sweetener) สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
THAI POLY CHEMICALS COMPANY LIMITED, บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด
POLY CHEMICALS FOR A BETTER LIFE, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต

Food additive, Food ingredient, Food nutrient, Chemical food grade
วัตถุเจือปนอาหาร, วัตถุปรุงแต่งอาหาร, สารเคมีเกรดอาหาร, วัตถุดิบเกรดอาหาร
รายการอื่นๆ นอกเหนือจากที่ระบุไว้ข้างต้น สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
ฝ่ายขายและการตลาด บจก.ไทยโพลีเคมิคอล
36/1 หมู่ที่ 9 ตำบลนาดี อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000
โทร. 034496284, 034854888, 0824504888, 0861762992, 0868850111
อีเมลล์แอดเดรส polychemicals888 (at) gmail (dot) com, LINE ID: wuttpcc