รหัสหนังสือ : PT2202
ชื่อหนังสือ: ระบบกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง (ยูพีเอส) และเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
ISBN: 974-686-054-2
ผู้ แต่ง: ผศ.ถาวร อมตกิตติ์
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 322
กระดาษ: ปอนด์
ราคาปก 250 บาท
ราคาขาย 225 บาท
ราคาสมาชิก วารสารเทคนิค/EC 213 บาท
ระบบกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง หรือที่นิยมเรียกว่า UPS เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้ การจ่ายกำลังไฟฟ้ามีความต่อเนื่อง และมีคุณภาพสม่ำเสมอ ซึ่งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน ข้อมูล หรือชีวิตได้
หนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึง ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟ้า, อุปกรณ์ควบคุมคุณภาพไฟฟ้า คือ วงจรกรองไฟฟ้า, เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้า, หม้อแปลงแยกขดลวด, ชุดมอเตอร์-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, ชุดกับดักเสิร์จ, สายป้อนไฟฟ้าทำงานทดแทนกัน, เครื่องยูพีเอส, ประสิทธิภาพในการควบคุมคุณภาพไฟฟ้า, เครื่องควบคุมค่าแรงดันไฟฟ้า
เครื่องยูพีเอส ชนิดโรตารี, ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์, ชนิดอินดักชั่นคัพลิง, ชนิดสแตติก, ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น, ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ, ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น, ข้อกำหนดในการใช้งานของยูพีเอส, เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำหรับยูพีเอส, แบตเตอรี่สำหรับยูพีเอส, การคำนวณแบตเตอรี่สำหรับยูพีเอส, ฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้า, การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแพสซีฟ, การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแอกซีฟ, การต่อลงดินของเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
สารบัญ
- ระบบไฟฟ้าและปัญหา
1.1 ระบบจำหน่ายไฟฟ้า และความมั่นคงในระบบ
1.2 การผิดปกติในระบบไฟฟ้า
1.3 ปัญหาที่เกิดในระบบไฟฟ้า
1.4 โอกาสที่ระบบไฟฟ้าผิดปกติ
- อุปกรณ์ควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
2.1 วงจรกรองไฟฟ้า
2.2 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้า
2.3 หม้อแปลงแยกขดลวด
2.4 ชุดมอเตอร์-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
2.5 ชุดกับดักเสิร์จ
2.6 สายป้อนไฟฟ้าทำงานทดแทนกัน
2.7 เครื่องยูพีเอส
2.8 การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแอกทีฟ
2.9 ประสิทธิภาพในการควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
- เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้า
3.1 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดหม้อแปลงแปรค่าได้ด้วยมอเตอร์
3.2 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดควบคุมการเหนี่ยวนำ
3.3 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดหม้อแปลงเฟอร์โรเรโซแนนซ์
3.4 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดควบคุมด้วยการเชื่อมต่อแบบแม่เหล็ก
3.5 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดควบคุมด้วยแทปสวิตชิง
3.6 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดควบคุมด้วยคาปาซิเตอร์สวิตชิง
- เครื่องยูพีเอสโรตารี่
4.1 เครื่องยูพีเอสโรตารี่ที่ใช้พลังงานสำรองจากแบตเตอรี่
4.2 เครื่องยูพีเอสโรตารี่ที่ใช้พลังงานสำรองจากเครื่องยนต์ดีเซล
4.3 การต่อยูพีเอสโรตารี่แบบขนาน
- เครื่องยูพีเอสโรตารี่ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.1 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.2 การส่งพลังงานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.3 การทำงานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.4 เครื่องยูพีเอสโรตารี่ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์แบบต่างๆ
5.5 การใช้งานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.6 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.7 การต่อขนานเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
- เครื่องยูพีเอสโรตารี่ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.1 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.2 การทำงานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.3 สภาวะการทำงานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.4 การควบคุมคุณภาพไฟฟ้าของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.5 เครื่องยูพีเอสชนิดระบบขนานแบบสแตติก
6.6 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.7 การต่อขนานเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
- เครื่องยูพีเอสสแตติก
7.1 ชนิดของคอนเวอร์เตอร์สแตติก
7.2 ชนิดของเรกติไฟเออร์สแตติก
7.3 ชนิดของอินเวอร์เตอร์สแตติก
7.4 การควบคุมแรงดันไฟฟ้าด้านออกของเครื่องยูพีเอสสแตติก
7.5 ประเภทของเครื่องยูพีเอสสแตติก
7.6 การใช้งานของเครื่องยูพีเอสสแตติกแบบต่างๆ
7.7 สวิตช์สแตติก
- เครื่องยูพีเอสสแตติกชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.1 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.2 การทำงานของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.3 ชุดเรกติไฟเออร์ / ชาร์จเจอร์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.4 ชุดอินเวอร์เตอร์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.5 ชุดบายพาสสวิตช์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.6 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.7 การต่อขนานเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
- เครื่องยูพีเอสสแตติกชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.1 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.2 การทำงานเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.3 ชุดคอนเวอร์เตอร์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.4 ชุดบายพาสสวิตช์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.5 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.6 การต่อขนานเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
- เครื่องยูพีเอสสแตติกชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.1 รายละเอียดของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.2 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.3 การทำงานของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.4 ชุดคอนเวอร์เตอร์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.5 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.6 คุณสมบัติทางเทคนิคของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.7 การต่อขนานของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.8 การเปรียบเทียบระบบยูพีเอสสแตติก
- ข้อกำหนดในการใช้งานของยูพีเอส
11.1 ข้อกำหนดทางเทคนิคของระบบยูพีเอส
11.2 การเปรียบเทียบยูพีเอสชนิดต่าง ๆ
11.3 การพิจารณาระบบยูพีเอสที่ด้านเข้าเป็น 3 เฟส และด้านออกเป็น 1 เฟส
11.4 วิธีการต่อขนานของยูพีเอสเพื่อนำไปใช้งาน
11.5 การเลือกขนาดเครื่องยูพีเอส
11.6 การทดสอบระบบยูพีเอส
11.7 การทดสอบอุปกรณ์ประกอบภายในเครื่องยูพีเอสสแตติก
- เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำหรับยูพีเอส
12.1 การติดตั้งใช้งานเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
12.2 การเลือกขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
12.3 การประกอบติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
12.4 ข้อกำหนดทางเทคนิคของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
- แบตเตอรี่สำหรับยูพีเอส
13.1 ปฏิกิริยาทางเคมี
13.2 ชนิดของแบตเตอรี่
13.3 การพิจารณาองค์ประกอบในการเลือกแบตเตอรี่
13.4 การประจุและการจ่ายพลังงานของแบตเตอรี่
13.5 การต่อแบตเตอรี่แบบขนาน
13.6 การติดตั้งและบำรุงรักษาแบตเตอรี่
- การคำนวณแบตเตอรี่สำหรับยูพีเอส
14.1 องค์ประกอบในการคำนวณแบตเตอรี่
14.2 ตัวอย่างการคำนวณเลือกขนาดแบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรด
14.3 ตัวอย่างการคำนวณเลือกขนาดแบตเตอรี่ชนิดนิกเกิลแคดเมี่ยม
- ฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้า
15.1 แหล่งจ่ายไฟฟ้าที่ไม่เป็นไซนูซอยด์กับโหลดเชิงเส้น
15.2 แหล่งจ่ายไฟฟ้าที่เป็นไซนูซอยด์กับโหลดไม่เชิงเส้น
15.3 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากโหลดไม่เชิงเส้น
15.4 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากเฟสไม่สมดุลและกระแสกระตุ้น
15.5 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากภาวะเรโซแนนซ์
15.6 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากชุดเรกติไฟเออร์
15.7 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากชุดอินเวอร์เตอร์
15.8 ผลกระทบเนื่องจากฮาร์มอนิก
- การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแพสซีฟ
16.1 การแก้ปัญหาจากฮาร์มอนิก
16.2 ผลของชุดเรกติไฟเออร์ต่อระบบจ่ายกำลังไฟฟ้า
16.3 ผลของชุดเรกติไฟเออร์ต่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
16.4 การลดฮาร์มอนิกเนื่องจากโหลดเป็นเรกติไฟเออร์
16.5 การลดฮาร์มอนิกเนื่องจากโหลดเป็นอินเวอร์เตอร์
16.6 วิธีแก้ปัญหาฮาร์มอนิกจากการต่อกันในระบบ
- การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแอกซีฟ
17.1 เรกติไฟเออร์ที่ตัวประกอบกำลังเป็นหนึ่ง
17.2 ชุดปรับปรุงฮาร์มอนิกแบบแอกทีฟชนิดขนาน
17.3 ชุดปรับปรุงฮาร์มอนิกแบบแอกทีฟชนิดไฮบริด
17.4 การติดตั้งชุดปรับปรุงฮาร์มอนิกแบบแอกทีฟชนิดขนาน
17.5 บทสรุป
- การต่อลงดินของเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
18.1 จุดประสงค์หลักของการต่อลงดิน
18.2 เทคนิคการต่อลงดินโดยทั่วไป
18.3 การต่อลงดินของเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
18.4 การต่อลงดินของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
18.5 การต่อลงดินของระบบคอมพิวเตอร์
บรรณานุกรม
ดัชนี