ลงโฆษณาฟรี ลงประกาศฟรี ขายของมือสอง ร้านค้าออนไลน์ ecommerce หางาน สมัครงาน PantipMarket.com


ดูข่าวทั้งหมด
ค้นหาแบบละเอียด

หมายเลขประกาศ12588789

วิศวกรไฟฟ้า ,รับตรวจอาคาร, บริษัทรับตรวจสอบระบบไฟฟ้า ,วิศวกรอุตสาหการระดับสามัญ,ตรวจระบบไฟฟ้า ,รับตรวจระบบอาคาร,ตรวจไฟฟ้า,รับตรวจไฟฟ้า,รับตรวจระบบไฟฟ้า,รับเซ็นต์แบบแปลนเครื่องจักร,เซ็นต์แผนผังโรงงาน,บริษัทตรวจไฟฟ้า,บริษัทรับตรวจระบบไฟฟ้า,Test ACB

แสดงภาพทั้งหมด

วิศวกรไฟฟ้าระดับสามัญมีประสบการณ์ รับตรวจสอบและรายงานรูปเล่มรายงานถูกต้องตามกฎหมาย ตามโรงงานอุตสหกรรมต่าง ๆ คอนโด บริษัท ห้างร้าน สำนักงาน และอื่น ๆ

1.ตรวจสอบระบบไฟฟ้า
*** บริการตรวจวัดค่าความต้านทานดิน แรงสูง ,ตู้MDB , DB, หม้อแปลงไฟฟ้า , ระบบป้องกันฟ้าผ่า อื่น ๆ ด้วยเครื่องมือที่ได้มาตรฐานและมีการสอบเทียบ
### Thermography Scan ตรวจจับความร้อน ระบบแรงสูง หม้อแปลงไฟฟ้า ตู้ MDB ตู้ย่อย อย่างละเอียดโดยกล้องอินฟาเรดพร้อมเครื่องมือตรวจสอบต่าง ๆ
### ตรวจสอบและติดตั้ง Fire Alarn ,Fire Pump

รายละเอียดการตรวจสอบเบื้องต้น
@@ เทอร์โมสแกนด้วยกล้องอินฟาเรด ตรวจวัดอุณภูมิความร้อน บอก ค่าเทอร์โมสแกนอย่างละเอียด
ขอดูตัวอย่างรายงาน / ราคาเบื้องต้น / ก่อนตัดสินใจ
@@ ตรวจสอบการรั่วซึมน้ำมัน / น๊อต /และความผิดปกติ ตามตู้MDB /ตู้ย่อย
@@ จัดทำรายงานรูปเล่ม พร้อมคำแนะนำและข้อเสนอแนะเพื่อความปลอดภัย
@@ ดูรายงาน / เครื่องมือ /ราคา / ก่อนตัดสินใจนะค่ะ

### รายละเอียดการตรวจสอบระบบไฟฟ้า
ตรวจสอบระบบจำหน่ายแรงสูง
- ตรวจเช็ค Drop Fuse, ลูกถ้วย Bushing ,CT&PT ด้วยกล้องอินฟาเรด เทอร์โมสแกน
- ตรวจเช็ค ขั้วต่อสาย ,สิ่งกีดขวางที่จะทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร
ตรวจสอบบริเวณหม้อเปลงไฟฟ้า (Tranformers Area)
- ตรวจสภาพหม้อแปลงภายนอก, ตรวจเช็คการรั่วซืมของน้ำมันหม้อแปลง,สารกรองความชื้น ซิลิก้าเจล (Siliga Gel)
- ตรวจเช็ค Drop Fuse, ลูกถ้วย Bushing ,HV-LV Volte ด้วยกล้องอินฟาเรด เทอร์โมสแกน
- ตรวจเช็ค สายดิน และหลักดิน การต่อลงดิน ส่วนที่เป็นโครงโลหะ
ตรวจเช็คตู้ Main Distribution Board (MDB)
- มาตรฐานการติดตั้ง,การเดิน ต่อสาย,เบรกเกอร์, Capacitor Blank , พื้นที่ว่างการปฏิบัติงาน
- ตรวจเช็คขั้วต่อสาย,ความร้อนสาย,การจัดกระแส (Balance Fase) ด้วยกล้องอินฟาเรด เทอร์โมสแกน
- การตรวจเช็คแผนผังวงจรไฟฟ้า (Single Line diagram)
- ตรวจเช็คอุปกรณ์ความปลอดภัย ภายในห้อง เช่น ถังดับเพลิง,ป้ายเตือนอันตราย,สัญญาณไฟฉุกเฉิน
ตรวจเช็คตู้ควบคุมแผงย่อย,แผงสวิตซ์,ตู้ Control เครื่องจักร (DB,Load Center,Breaker)
- การเดินสาย,ขั่วต่อสาย,การต่อพ่วง,ความร้อน ด้วยกล้องอินฟาเรดเทอร์โมสแกน
- ตรวจเบกเกอร์,พิกัดกระแสไฟฟ้า,Balance Fase,ตรวจสภาพตู้
- แผนภาพวงจรเส้นเดี่ยว (Single line diagram) , ป้ายเตือนอันตราย
ตรวจการรั่วไหลของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่อาจเกิดอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน
- ตรวจเช็คอุปกรณ์ที่ส่วนเป็นโครงโลหะ เช่น ตู้น้ำดื่ม,มอเตอร์,เครื่องจักร,แอร์
ตรวจเช็คห้องเก็บสารเคมีไวไฟ,ห้องเก็บของ (Store)
- ตรวจเช็คการติดตั้ง,สวิตซ์,เบรกเกอร์,โคมไฟกันระเบิด,การต่อพ่วงสายไฟ,ขั้วต่อสาย,ความร้อนสาย
- ระบบป้องกันอัคคีภัย เช่น ถังดับเพลิง,สัญญาณเตือนภัย ฯลฯ
ตรวจวัดค่าความต้านทานดิน ระบบป้องกันฟ้าผ่า,ระบบล่อฟ้า

@@ Test ACB ,Test ACB Mitsubishi ,ทดสอบ Function ACB
รายละเอียด บริการทดสอบการทำงาน Mian ACB
- Function Test
- Insulation Contact Resistance
- Protection Relay Test
- Lubricate the mechanis


รายละเอียดงาน PM

@@ ระบบแรงสูง

1.1 ทำเช็ดและทำความสะอาดลูกถ้วยฉนวนด้วยผ้าชุบแอลกอฮอล์ขาว

1.2 ตรวจเช็คสภาพการแตกร้าวและรอยผิดปกติต่างๆ ของลูกถ้วยฉนวน

1.3 ตรวจเช็คความตึงและความมั่นคงของสาย Overhead Ground Wire

1.4 ทำความสะอาด Drop Fuse พร้อมตรวจเช็คจุดสัมผัสและขันอัดจุดต่อ

1.5 ทำความสะอาด Arresters พร้อมตรวจเช็คจุดสัมผัสและขันอัดจุดต่อทั้ง 3 ตัว

1.6 ตรวจเช็คสายกราวด์และขันอัดจุดต่อทั้ง 2 จุด (HV Incoming& End Pole)

1.7 ตรวจวัดค่าความต้านทานของดินของระบบกราวด์ทั้ง 2 จุด

1.8 ทำความสะอาดและตรวจเช็คสภาพหัว Termination และจุดต่อ

1.9 ทดสอบค่าความเป็นฉนวนของ HV Overhead Cable/Under Ground 5,000V



@@ ระบบหม้อแปลง



2.1 ทำเช็ดความสะอาดด้วยผ้าชุบแอลกอฮอล์ขาวทั่วทั้งตัว

2.2 ตรวจเช็คสภาพสีของสารดูดความชื้นซิลิกาเจล (Conservator Tank Type)

2.3 ตรวจเช็คการรั่วซึมของน้ำมันตามบูชชิ่งและตามตัวถังหม้อแปลง

2.4 ตรวจเช็คค่าความเป็นฉนวนของขดลวด (Insulation Testing 5,000V)

2.5 ตรวจเช็คค่าความเป็นฉนวนของน้ำมัน (Dielectric Strength Test)

2.6 ตรวจเช็คจุดต่อและ Termination Kid, Thermal& Pressure Detector

2.7 ขันอัดจุดต่อให้แน่นทั้งด้านแรงสูงและแรงต่ำ (Connection Tightening)

2.8 ทำความสะอาดครีบระบายความร้อนและทำความสะอาดลานหม้อแปลง



@@ ตู้ MDB

.1 ทำความสะอาดเช็ดและดูดฝุ่นอุปกรณ์และภายในตู้ทั้งหมด

2 ตรวจสภาพเช็คอุปกรณ์และขันอัดจุดต่อต่างๆ

3 ตรวจวัดค่าความต้านทานของดินของระบบกราวด์ที่ตู้ E
4. ตรวจเช็คสภาพของ Capacitor ของ Cap. Bank
5. ตรวจเช็คและทำความสะอาดพัดลมระบายอากาศของตู้ MDB
6. ตรวจเช็คและทดสอบ Earth Leakage Relay ที่ตู้ MDB ของ Main Feeder
7. ทดสอบค่าความเป็นฉนวนของ Main Feeder Cable จาก MDB ไปยังตู้ย่อย
8. ตรวจเช็คค่าความเป็นฉนวนและขันอัด Bus Duct จาก MDB ไปยังหม้อแปลง
9. ตรวจเช็คสภาพและปรับศูนย์ของมิเตอร์ต่างๆ บนตู้ MDB



@@ ตู้ DB

1 ทำความสะอาดเช็ด-ดูดฝุ่น อุปกรณ์และภายใน-ภายนอกตู้ทั้งหมดทุกตู้ย่อย
2 ตรวจเช็คสภาพและการคลายตัวของจุดต่อต่างๆ พร้อมทั้งขันอัด น๊อตสกรู
3 ตรวจเช็คสภาพชำรุดเสียหายของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในตู้ เช่น Terminal
4 ตรวจเช็คมาตรฐานการต่อและการคลายตัวของสายกราวด์ภายในตู้
5 ตรวจเช็คฟิวส์และโชว์แล้มพ์ต้องใช้งานได้
6 ตรวจเช็คสายไฟ Main Feeder จากตู้ย่อย DB ไปยังตู้ MDB ทุก Ladder
7 ทดสอบการทำงานด้านแมคคานิคของ MCCB
8 ตรวจเช็คพัดลมระบายอากาศของตู้ (ถ้ามี)
9 ตรวจเช็คฝาปิดรางไฟ Wire Way บนตู้ DB และขันยึดให้แน่นมั่นคง
10 ตรวจสภาพตู้ เช่น ประตู ที่ปิดล๊อค สนิม
11 แก้ไขรูต่างๆ ของตู้ที่ฝุ่นและแมลงสามารถเข้าไปได้



@@@ รายละเอียด PM หม้อแปลง /ควคควรคำนึง

 SILICA-GEL (สารดูดความชื้น) หากเสื่อมคุณภาพจะเปลี่ยนจาก สีน้ำเงินเป็นสีชมพูหรือสีดำ ควรเปลี่ยนใหม่
 ซีลยางชำรุดน้ำมันไหลซึมออกมา
 ถังหม้อแปลงขึ้นสนิม ผุ ชำรุดอาร์คซิ่งฮอนชำรุด/บิดงอไม่ได้ระยะ (15.5 ซม.)
 ประเก็นกรอบ/หมดสภาพหรือชำรุดน้ำมันจะไหลซึมออกมา
 บุชชิ่งแรงสูง - แรงต่ำ บิ่น/แตก ชำรุด หรือมีฝุ่นเกาะหนา อาจเป็นตัวนำให้ไฟรั่วลงดินทำให้ไฟดับได้
 ถังอะไหล่น้ำมันหม้อแปลงมีระดับน้ำมันต่ำจะต้องเติมน้ำมันเพิ่ม
 ครีบระบายความร้อนสกปรก/รั่วซึม
 ขั้วต่อสายแรงสูง - แรงต่ำที่บุชชิ่งหลวมหรือเกิดอ๊อกไซด์จะทำ ให้เกิดอาร์คชำรุด
 ค่าความเป็นฉนวนของน้ำมันต่ำกว่าพิกัดจะต้องกรองหรือเปลี่ยนทันที
 ใช้งานมาแล้วเกิน 6 เดือนเป็นต้นไป

ผลดีของการบำรุงรักษาหม้อแปลง
 สามารถรับและจ่ายไฟได้อย่างต่อเนื่อง
 ยืดอายุการใช้งานให้ยาวนานขึ้นและคุ้มค่า
 เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อตัวหม้อแปลง
 ป้องกันความเสียหายต่อกระบวนการผลิต
 ป้องกันการเสียโอกาสในการผลิต
 รับทราบสภาพโหลดการใช้งานจริงของหม้อแปลง
 ป้องกันการเกิดอัคคีภัยและอุบัติเหตุ
 ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซ่อมหรือซื้อใหม่



@@@ โดยมีเครื่องมือตรวจสอบที่ทันสมัย
1.เครื่องวัดกระแส ความถี่ PF ฮาร์โมนิคส์Power Quality Analyzer
2.ครื่องมือตรวจวัดค่าความต้านทานดินEarth Resistance Tester
3.กล้องอินฟาเรดตรวจจับความร้อนThermography Scan
4.เครื่องมือตรวจวัดกระแสไฟฟ้าDigital Clamp Meter
5.เครื่องมือตรวจวัดแรงดันไฟฟ้าDigital Multimeter
6.เครื่องมือตรวจวัดการรั่วไหลกระแสไฟฟ้า,การต่อสายดินVolte alert

@@@ บอกจำนวนหม้อแปลงกี่ลููก กี่ KVA เสนอราคาเบื้องต้นให้รับทราบได้เบื่องต้น

2.วิศวกรอุตสาหการระดับสามัญ,
- เซ็นต์รับรองแบบแผนผังโรงงาน
- เซ็นต์รับรองแผนผังโรงงาน
- เซ็นต์รับรองแบบแปลนโรงงาน
- เซ็นต์รับรองแผนผังเครื่องจักร
- เซ็นต์รับรองแบบแปลนเครื่องจักร
- เซ็นต์รับรองแผนผังเครื่องจักร
- เซ็นต์รับรองสิ่งแวดล้อมระบบน้ำ ,ระบายน้ำเสีย
- รับเขียนแบบทุกชนิด

@@@ เพื่อยื่นขออนุญาต กนอ. / อุตสาหการจังหวัด เพื่อประกอบกิจการโรงงาน ขยายโรงงาน และต่ออนุญาตโรงงาน
@@@ ไม่เกิน 2 สัปดาห์สามารถตรวจสอบและรับแบบได้


3.ตรวจระบบอาคาร
*** บริการตรวจสอบอาคาร ระบบอาคาร ตามโรงงานอุตสาหกรรม สถานที่ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน (ตามกฎหมายที่กำหนด)
รายละเอียดเบื้องต้น

#### ขึ้นทะเบียนตามกฎหมายโดยวิศวกรไฟฟ้าระดับสามัญ /วิศวกรเครื่องกลระดับสามัญ
@@@ บริการ ตรวจสอบสภาพอาคารเพื่อความปลอดภัย และเซ็นต์ รับรองรายงานตรวจสอบสภาพอาคาร โดย วิศวกร ขึ้นทะเบียน กับกรมโยธาธิการ เป็นผู้ตรวจสอบอาคาร
### ตรวจสอบตามรายละเอียด ดังนี้
1. ความมั่นคงแข็งแรงด้านโครงสร้าง
2. อุปกรณ์ประกอบอาคาร เช่น เครน เครื่องปรับอากาศ ไฟฟ้า ฯลฯ
3. ระบบป้องกันอัคคีภัย ,ทางหนีไฟ
4. ระบบบริหารงานด้านความปลอดภัย
### จัดทำรายงานผลการตรวจสอบ จำนวน 2 ชุด
*** แค่บอกขนาดขนาดพื้นที่อาคารประมาณ ............ ตรม.****

เครื่องมือในการตรวจสอบ
1.เครื่องมือตรวจวัดความแข็งแรงโครงสร้างปูน Structure of Concrete Test Hammer
2. กล้องอินฟาเรด เทอร์โมสแกน
3. เครื่องมืดวัดกาว์ด ค่าความต้านทานดิน ระบบป้องกันฟ้าผ่าอาคาร
4. เครื่องมือวัดแก๊สรั่ว Gas Detector
5. เครื่องมือวัดค่าทางไฟฟ้าต่างๆ

4 ตรวจสอบออกเอกสาร รับรองวิศวกรเครื่องกลระดับสามัญ พร้อมทดสอบน้ำหนัก Load Test
@@ รับอบรม เครน /ปั้นจั่น ทุกหลักสูตร
@@ รับ อบรม Mobile crane ทุกหลักสูตร

** ตรวจสอบและออกเอกสาร คป.1 ,ปจ.1
- ตรวจเครนทุกชนิด
- ตรวจปั้นจั่นทุกชนิด
- ตรวจรอกไฟฟ้า ,รอกโซ่,สลิง
- ตรวจลิฟต์ขนส่ง ,ลิฟต์โดยสาร

** ตรวจสอบและออกเอกสาร คป.2 ,ปจ.2
- รถเฮี๊ยบ
- รถเครน
- รถบรรทุกติดเครน
- รถแบคโฮ
- Mobile crane
- Fork Lift
- รถ กระเช้า
- รถ Boom - Lift
- รถ X - Lift

@@ ลูกตุ้มน้ำหนักมีให้บริการ / เช่า ราคาถูก บริการทั้งในและนอกสถานที่
@@ มีศูนย์ทดสอบน้ำหนัก พร้อมนำ้หนักลูกตุ้มในการทดสอบฟรีหน้าโรจนะ ราคาถูก


5.อบรมเครน , อบรม ForK Lift ,อบรม Mobile (ออกวุฒิบัตรตามหลักสูตรกฏหมายที่กำหนด)
1.อบรมเครนปั่นจั่น Ovdr head cran
- หลักสูตรการปฎิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั่นจั่นผู้ยึดเกาะวัสดุ
- หลักสูตรผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั่นจั่นผู้ยึดเกาะวัสดุ
- หลักสูตรผู้ควบคุมการใช้ปั่นจั่น
- หลักสูตรทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั่นจั่น

2.อบรม Mobile crane
- หลักสูตรผู้บังคับปั่นจั่น
- หลักสูตรผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั่นจั่นผู้ยึดเกาะวัสดุ
- หลักสูตรผู้ควบคุมการใช้งาน
- หลักสูตรทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั่นจั่น
หลักสูตรการอบรมปั่นจั่น
1. รายละเอียดในการฝึกอบรม (ทฤษฏี)
1.1 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และ หม้อน้า พ.ศ.2552
1.2 มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
1.3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่น และชนิดของปั้นจั่น
1.4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก
1.5 บทบาทหน้าที่รับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
1.6 ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
1.7 ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น
1.8 ระบบสัญญาณเตือน และ Limit Switch
1.9 การใช้สัญญาณมือ
1.10 วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย
1.11 การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
1.12 การใช้คู่มือการใช้งาน การตรวจสอบ และการบำรุงรักษาตามระยะเวลา
สิ่งของตามเส้นทางที่กำหนดอย่างถูกต้องและปลอดภัย

2.ทดสอบหลังการฝึกอบรม (Post Test)
ภาคทดสอบ
- ปรนัยร้อยละ 60
- ปฏิบัติ ร้อยละ 40


3.อบรม Fork Lift
- หลักสูตรการขับขี่รถยก Fork Lift อย่างปลอดภัย

หลักสูตรการ อบรม Fork Lift
รายละเอียดในการฝึกอบรม (ทฤษฏี)
1.1 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และ หม้อน้า พ.ศ.2552
1.2 ความรู้ทั่วไปและหลักการยกของโฟร์คลิฟต์
- ประเภทรถยก
- ความหมายของโค๊ตรถยก
-อุปกรณ์ช่วยยกที่ใช้กับเครน
- การบำรุงรักษาประจำวัน
- โครงสร้างรถยก , ส่วนประกอบ ชื่ออุปกรณ์ควบคุมและตำแหน่ง
-การผูกหรือการรัดวัตถุก่อนการยก
1.3 การขับขี่รถโฟร์คลิฟต์อย่างถูกต้องปลอดภัย
1.4 ข้อปฏิบัติในการขับรถโฟร์คลิฟท์
1.5 อุบัติเหตุจากการขับขี่รถโฟร์คลิฟท์
1.6 การใช้รถยก (โฟร์คลิฟท์ ) อย่างปลอดภัย
1.7 ภาคปฏิบัติ ทดสอบการยกและเคลื่อนย้าย
และการขับขี่อย่างปลอดภัย
ภาคทดสอบ
- ปรนัยร้อยละ 60
- ปฏิบัติร้อยละ 40


### ขอดูตัวอย่างรายงาน ใบเซอร์เครื่องมือ ลูกตุ้มในการทดสอบน้ำหนักที่ได้มาตรฐาน กล้องเรเซอร์เครื่องในการตรวจสอบก่อนตัดสินใจนะค่ะ


บริษัท เอ็นเซฟเอ็นจิเนียริ่งคอนซัลแตนท์ จำกัด
โทร คุณบีม 089-9438050 ,063-1898663
e-mail : ensafe08@gmail.com
www.ensafe-ms.com